Support
Arjan Pong
035 323239, 035 323240, 089 8129392
Your shopping cart
ดูตะกร้าสินค้าของคุณ
ไม่มีสินค้าในตะกร้าของคุณ

จอดรถผิดฝั่ง ตร.โหดจับลากถึงตาย

ArjanPong | 28-02-2556 | เปิดดู 3110 | ความคิดเห็น 0

 

 

                            เดี๋ยวสวย...

 

 

 

 

         

 

 

 

 

 

 

 

....ประเดี๋ยวเหอะ คงได้รู้ หมู่หรือจ่า

 

ทำเป็นมา เเทะโลม โน้มน้าวฉัน

 

อ้อนออเซาะ ฉอเลาะ เพราะกลัดมัน

 

จับตรงนั่น โอบตรงนี่ เดี๋ยวตีตาย

 

 

 

....พ่อไก่อ่อน ไปนอนเสีย เดี๋ยวเมียด่า

 

หรี่จ้องตา หวังสะท้าน พาลใจหาย

 

โธ่เด็กๆ เพิ่งหัดขัน มันน่าอาย

 

เเค่ผู้ชาย ปากเสีย หนีเมียมา....

 

 

 

 

 

********************************************************

 

 

 

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

 

 
จังหวัดอุทัยธานี
ตราประจำจังหวัดอุทัยธานี
ตราประจำจังหวัด
 
อุทัยธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว ส้มโอบ้านน้ำตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นน้ำสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออักษรไทย อุทัยธานี
ชื่ออักษรโรมัน Uthai Thani
ชื่อไทยอื่นๆ อุทัย, อุไทย, อู่ไทย
ผู้ว่าราชการ นายวันชัย โอสุคนธ์ทิพย์
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2553)
ISO 3166-2 TH-61
ต้นไม้ประจำจังหวัด สะเดา
ดอกไม้ประจำจังหวัด สุพรรณิการ์
ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 6,730.246 ตร.กม.[1]
(อันดับที่ 29)
ประชากร 328,034 คน[2] (พ.ศ. 2554)
(อันดับที่ 68)
ความหนาแน่น 48.74 ตร.กม.
(อันดับที่ 72)
ศูนย์ราชการ
ที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี ถนนศรีอุทัย ตำบลอุทัยใหม่ อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี 61000
โทรศัพท์ (+66) 0 5651 1063
เว็บไซต์ จังหวัดอุทัยธานี
แผนที่
 
แผนที่ประเทศไทย เน้นจังหวัดอุทัยธานี

สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

จังหวัดอุทัยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย

 สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

  • ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกสุพรรณิการ์ (Cochlospermum regium)
  • ต้นไม้ประจำจังหวัด: สะเดา (Azadirachta indica v. siamensis)
  • คำขวัญประจำจังหวัด: อุทัยธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว ส้มโอบ้านน้ำตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นน้ำสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ

 

 

 ประวัติ

เมืองอุทัยธานีมีหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ของกรมศิลปากรยืนยันไว้ว่า เป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อประมาณ 3,000 ปี มาแล้ว โดยพบหลักฐานยืนยันในหลายพื้นที่ เช่น โครงกระดูก เครื่องมือหินกะเทาะจากหินกรวด ภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์บนหน้าผา (เขาปลาร้า) เป็นต้น

 

ตำนานเก่าเล่าว่า ในสมัยกรุงสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองนั้น ท้าวมหาพรหมได้เข้ามาสร้างเมืองที่บ้านอุทัยเก่า คือ อำเภอหนองฉางในปัจจุบันนี้ แล้วพาคนไทยเข้ามาอยู่ท่ามกลางหมู่บ้านคนมอญและคนกะเหรี่ยง จึงเรียกว่า "เมืองอู่ไทย" ตามกลุ่มหรือที่อยู่ของคนไทยซึ่งพากันตั้งบ้านเรือนอยู่อย่างหนาแน่น มีพืชพันธุ์และอาหารอุดมสมบูรณ์กว่าแห่งอื่น ต่อมากระแสน้ำเปลี่ยนทางเดินและเกิดกันดารน้ำ เมืองอู่ไทยจึงถูกทิ้งร้าง จนในที่สุด พะตะเบิดได้เข้ามาปรับปรุงเมืองอู่ไทย โดยขุดที่เก็บกักน้ำไว้ใกล้เมือง และพะตะเบิดได้เป็นผู้ปกครองเมืองอู่ไทยเป็นคนแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา

 

เมืองอู่ไทยต่อมาได้เรียกกันเป็น "เมืองอุไทย" คาดว่าเพี้ยนไปตามสำเนียงชาวพื้นเมืองเดิม ได้มีฐานะเป็นหัวเมืองด่านชั้นนอก มีพระพลสงครามเป็นนายด่านแม่กลอง และพระอินทรเดชเป็นนายด่านหนองหลวง (ปัจจุบันแม่กลองคืออำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และหนองหลวงคือตำบลหนองหลวง อำเภออุ้มผาง) คอยดูแลพม่าที่จะยกทัพมาตามเส้นทางชายแดนด่านแม่ละเมา

 

ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148-2163) ได้โปรดเกล้าฯ ให้บัญญัติอำนาจการใช้ตราประจำตำแหน่ง มีบัญชาการตามหัวเมืองนั้น ได้ระบุในกฎหมายเก่าลักษณะพระธรรมนูญว่า "เมืองอุไทยธานี เป็นหัวเมืองขึ้นแก่มหาดไทย"

 

เมืองอุไทยธานีเป็นเมืองที่อยู่บนที่ดอนและลึกเข้าไป ไม่มีแม่น้ำสายใหญ่และไม่สามารถติดต่อทางเรือได้ ดังนั้นชาวเมืองจึงต้องขนข้าวบรรทุกเกวียนมาลงที่แม่น้ำ จึงทำให้พ่อค้าพากันไปตั้งยุ้งฉางรับซื้อข้าวที่ริมแม่น้ำจนเป็นหมู่บ้านใหญ่ เรียกว่าหมู่บ้าน "สะแกกรัง" เนื่องจากเป็นพื้นที่มีป่าสะแกขึ้นเต็มริมน้ำและมีต้นสะแกใหญ่อยู่กลางหมู่บ้าน บ้านสะแกกรัง ชาวจีนเรียกเพี้ยนเป็น "ซิเกี๋ยกั้ง" เป็นตลาดซื้อข้าวที่มีพ่อค้าคนจีนนิยมไปตั้งบ้านเรือนและยุ้งฉาง ต่อมาในระยะหลังได้มีเจ้านายและขุนนางมาตั้งบ้านเรือนอยู่ เพราะความสะดวกในการกะเกณฑ์สิ่งของส่งเมืองหลวงซึ่งเป็นจำพวกมูลค้างคาว ไม้ซุง กระวาน และช้างป่า อีกทั้งยังมีช่องทางในการค้าข้าวอีกด้วย

 

ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ (พ.ศ. 2251-2275) นั้น จมื่นมหาสนิท (ทองคำ) ซึ่งย้ายมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสะแกกรังนั้น ได้รับแต่งตั้งเป็นพระยาราชนกูล และต่อมาได้กำเนิดบุตรชายคนโตชื่อ "ทองดี " เกิดที่สะแกกรัง สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกฯ พระนามเดิม ทองดี เดิมทรงรับราชการในแผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พระเจ้าบรมโกศ) ได้ดำรงตำแหน่งพระอักษรสุนทร เสมียนตรากรมมหาดไทย ถึงรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระเจ้าเอกทัศ) พม่ายกกองทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา เกิดการระส่ำระสายแตกสามัคคีในพระนคร จึงทรงอพยพครอบครัวไปรับราชการกับเจ้าเมืองพิษณุโลก ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์ สมุหนายกอัครมหาเสนาบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ

 

ต่อมาทรงพระประชวร สิ้นพระชนม์ในเมืองพิษณุโลก บุตรชายชื่อ "ทองด้วง" ภายหลังได้รับราชการเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ปราบจลาจลในกรุงธนบุรี และสถาปนาเป็นกษัตริย์ราชวงศ์จักรีปกครองแผ่นดินทรงพระนามว่า "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก" ทรงอัญเชิญพระอัฐิส่วนหนึ่งประดิษฐาน ณ หอพระในพระบรมมหาราชวัง เพื่อให้พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการถวายบังคมในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัจจาในฐานะสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกแห่งราชวงศ์จักรี พระอัฐิอีกส่วนหนึ่ง กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท อัญเชิญเข้าประดิษฐานในพระเจดีย์ทองในพระมณฑปวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ มีประเพณีที่พระมหากษัตริย์ทรงตั้งเครื่องทองน้อย เพื่อสักการบูชาทุกครั้งที่เสด็จพระราชดำเนิน

 

พ.ศ. 2376 ข้าราชการชาวกรุงเทพฯ ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระยาอุไทยธานี เจ้าเมืองอุไทยธานีในสมัยนั้น ได้เห็นว่าบ้านสะแกกรังเป็นตลาดใหญ่ มีผู้คนอพยพเข้ามาอยู่กันอย่างหนาแน่น อีกทั้งเป็นสถานที่ที่ชาวอุไทยธานีติดต่อค้าขายข้าวและไม้ซุงกับพ่อค้าที่นั่นมานานแล้ว จึงคิดตั้งบ้านเรือนเพื่อค้าขาย ประจวบกับเวลานั้น เจ้าเมืองไชยนาทเป็นเพื่อนกัน จึงขอตั้งบ้านเรือนที่ริมแม่น้ำสะแกกรัง เนื่องจากผู้คนมาติดต่อราชการและมาค้าขายกันมาก ทั้งนี้ เนื่องจากเจ้าเมืองไม่กล้าขึ้นไปเมืองอุไทยธานีเก่า อ้างว่ากลัวไข้ป่า จึงเป็นเหตุให้พากันอพยพมาอยู่กันมากขึ้น

 

พ.ศ. 2391 ได้มีการแบ่งเขตดินแดนเมืองอุไทยธานีและเมืองไชยนาท โดยตัดเขตบ้านสะแกกรังทางฝั่งคลองฟากใต้ ตั้งแต่ท้ายบ้านสะแกกรังไปจดเมืองอุไทยธานีเก่า โอนที่นั่นจากเมืองไชยนาทเป็นของเมืองอุไทยธานี ดังนั้นเมืองอุไทยธานี จึงตั้งอยู่ที่ปลายสุดเขตแดนเมืองมโนรมย์ ข้างใต้บ้านลงมาสักคุ้งน้ำหนึ่งก็เป็นแดนเมืองไชยนาท

 

พ.ศ. 2441 เมืองอุไทยธานีขึ้นกับมณฑลนครสวรรค์ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้เปลี่ยนไปขึ้นกับมณฑลอยุธยา สุดท้ายมีการประกาศเลิกมณฑลปี พ.ศ. 2476 และจัดให้จังหวัดเป็นหน่วยปกครองส่วนภูมิภาคที่สำคัญที่สุด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบ ตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึงปัจจุบัน

 

 

*************************************************************************

 

 

 

 

การกรนเกิดจากการสั่นพริ้วสะบัดของลิ้นไก่ และเพดานอ่อนที่สั่นมากกว่าปกติขณะกำลังนอนหลับ โดยมีสาเหตมาจากมีการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้ลมหายใจไม่สามารถผ่านลงสู่หลอดลม และปอดได้อย่างสะดวก ทำให้กระแสลมที่ถูกปิดกั้นนั้น เกิดการหมุนวนไปทำให้ลิ้นไก่ และเพดานอ่อนเกิดการสั่นมากกว่าปกติ ทำให้เกิดเป็นเสียงกรนขึ้น

 

 นอนกรนแก้ไขได้

นอนกรน, นอน, ผักผ่อน, สุขภาพ, ทางเดินหายใจ



นอนกรน เป็นภาวะผิดปกติอย่างหนึ่งของการนอนที่ไม่ควรละเลย เพราะผลกระทบจากการนอนกรนสร้างปัญหาต่อการดำเนินชีวิตและปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพมากมาย การนอนกรนมีทั้งประเภทที่อันตรายและไม่อันตราย ซึ่งมีลักษณะดังนี้

๑. ประเภทที่ไม่อันตราย คือการกรนที่ทำให้เกิดเสียงรบกวน ซึ่งจัดเป็นชนิดไม่อันตราย ไม่ทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ เพียงแต่ก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้ที่อยู่ใกล้ กลุ่มนี้มักมีการอุดกลั้นทางเดินหายใจเพียงเล็กน้อย


๒. ประเภทที่อันตราย เกิดจากการที่มีทางเดินหายใจแคบมากเวลาหลับ ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีเสียงกรนไม่สม่ำเสมอ เมื่อยังหลับไม่สนิทจะยังเป็นการกรนที่สม่ำเสมอ แต่เมื่อหลับสนิทจะเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ มีเสียงกรนที่ไม่สม่ำเสมอ โดยจะมีช่วงที่กรนเสียงดังและค่อยสลับกันเป็นช่วงๆ และจะกรนดังขึ้นเรื่อยๆ แล้วจะมีช่วงหยุดกรนไปชั่วระยะหนึ่ง ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดการหยุดหายใจ


อันตรายจากการนอนกรนที่มีการหยุดหายใจขณะหลับ

๑. ร่างกายอ่อนเพลีย รู้สึกนอนไม่พอ ทำให้เกิดอาการง่วงนอน ซึ่งเป็นผลเสียต่อการเรียน การทำงาน หรือเกิดอุบัติเหตุในการขับรถหรือการควบคุมเครื่องจักรกล


๒. ไม่มีสมาธิในการทำงาน ความสามารถในการจดจำลดลง หงุดหงิด อารมณ์เสียง่ายกว่าปกติ


๓. มีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคต่างๆมากขึ้น เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดในสมอง เช่น อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด (อาจทำให้เสียชีวิตทันที เพราะหัวใจทำงานผิดปกติขณะเกิดภาวะหยุดหายใจในช่วงนอนหลับ ซึ่งชาวบ้านเรียกว่าไหลตาย) ได้มากกว่าคนปกติ เป็นเหตุให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร


๔. หย่อนสมรรถภาพทางเพศ



การรักษาการนอนกรน


๑. ควบคุมน้ำหนักไม่ให้เกินเกณฑ์


๒. ออกกำลังกายเพื่อให้ร่างกายและกล้ามเนื้อแข็งแรง


๓. หลีกเลี่ยงการนอนหงาย โดยพยายามนอนในท่าตะแคงข้าง และนอนศีรษะสูงเล็กน้อย


๔. หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ หรือยานอนหลับ หรือยากล่อมประสาทก่อนนอน


๕. กรณีที่เป็นการนอนกรนชนิดอันตรายที่มีการหยุดหายใจร่วมด้วย รักษาโดย


- เครื่องช่วยหายใจ เป็นเครื่องครอบจมูกขณะหลับ เพื่อทำให้หายใจสะดวกขึ้น วิธีนี้ปลอดภัยและได้ผลดีในผู้ป่วยเกือบทุกราย
- จี้กระตุ้นให้เพดานอ่อนหดตัวลง โคนลิ้นหดตัวลง
- การผ่าตัวเอาส่วนที่ยืดยานออก

อาการนอนกรนไม่ได้เป็นเพียงการส่งเสียงที่สร้างความรำคาญเท่านั้น แต่อันตรายจากการนอนกรนอาจรุนแรงถึงขั้นหยุดหายใจและนำมาซึ่งการเสียชีวิตได้ หากสังเกตุเห็นคนใกล้ตัวมีอาการผิดปกติเกี่ยวกับการนอนกรนควรพบแพทย์เพื่อทำการวินิจฉัยและเข้ารับการรักษา

โดย: พี่ทิพ

 

 

*************************************************************************

 

 

 

 

 

 

 

**********************************************************************************

 

 

 

       ตัดสินคดีกันตอนใก้ลเลือกตั้งแบบนี้

             มีหงายเงิบกันบ้างแหละ

 

 

 

กระทู้ข่าว พันทิป
ศาลแพ่ง สั่ง บ.เทเวศประกันภัย จ่าย 3.7 พันล้านบาท ให้เซ็นทรัลเวิลด์ จากเหตุเพลิงไหม้ระหว่างชุมนุม นปช. ปี 2553 ชี้ไม่เข้าข่ายก่อการร้าย

ศาลแพ่ง อ่านคำพิพากษาในคดีที่กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 และห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กับพวก ฟ้องร้องบริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน) ให้รับผิดชอบชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเนื่องจากอัคคีภัย เหตุเพลิงไหม้ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ในเหตุการณ์กระชับพื้นที่การชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดง เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ซึ่งก่อนหน้านี้ทางเทเวศประกันภัย ปฏิเสธจ่ายค่าชดเชยโดยต่อสู้ว่า เหตุเพลิงไหม้เกิดจาดการก่อการร้ายซึ่งกรมธรรม์ไม่คุ้มครอง

โดยศาลแพ่งพิเคราะห์แล้วเห็นว่า บริษัทเทเวศประกันภัย ต้องรับผิดชอบตามกรมธรรม์ เพราะเหตุการณ์วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ไม่ใช่กรณีก่อการร้ายหรือกรณีอื่นที่อยู่ในข้อยกเว้นของกรมธรรม์แต่อย่างใด ดังนั้นจึงพิพากษาให้ บ.เทเวศประกันภัย ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจำนวนกว่า 3,700 ล้านบาท ทั้งกรณีความเสียหายต่อทรัพย์สิน และความเสียหายต่อธุรกิจหยุดชะงัก พร้อมอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี นับจากวันที่ 31 มีนาคม 2554 จนกว่าจะชำระครบถ้วน

 
 
 
 

 

ตัดสินมางี้ก็ฟันเฟิร์มได้แน่นอนว่าไม่ใช่เสื้อแดงเผา

เพราะฉะนั้นเหตุเกิดได้2กรณีคือ
1. เจ้าหน้าที่เผา 2. อุบัติเหตุ

แล้วถ้าเป็นกรณีที่เจ้าหน้าที่เผา
1. มันต่างจากก่อการร้ายยังไง
2. บริษัทประกันภัยสามารถเรียกร้องจากรัฐได้หรือไม่
3. ถ้าเรียกร้องได้ รัฐบาลต้องเป็นผู้จ่าย หรือเจ้าหน้าที่รัฐเป็นผู้จ่าย

 

ผู้ก่อการร้าย พวกเผาบ้านเผาเมือง ที่เอามาอ้างหากินตลอด...
ความจริงเริ่มเปิดเผยมาเรื่อยๆ
ต่อให้ร้องไห้เป็นเต่าเผา
ก็ช่วยกลบความชั่วช้าที่สั่งฆ่าประชาชนไม่ได้

ความคิดเห็น

วันที่: Mon May 20 01:00:25 ICT 2024

แสดงความคิดเห็น
All Comments: 0 Pages: 1/0

 <iframe width="560" height="315" src="https://www.youtube.com/embed/_jUHKM1YHcc" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>