Support
Arjan Pong
035 323239, 035 323240, 089 8129392
Your shopping cart
ดูตะกร้าสินค้าของคุณ
ไม่มีสินค้าในตะกร้าของคุณ

ตึกถล่มบังคลาเทศ

ArjanPong | 24-04-2556 | เปิดดู 2427 | ความคิดเห็น 0

 

 

 

                     

เหยื่อตึกถล่มในบังคลาเทศพุ่ง 127 ศพ

 

เหตุตึกโรงงานถล่มในบังกลาเทศยอดผู้เสียชีวิต พุ่ง 127 ศพ บาดเจ็บนับพัน เตรียมลดธงครึ่งเสาไว้อาลัย

 

ความคืบหน้าเหตุอาคารพาณิชย์สูง 8 ชั้น ที่ชื่อว่า รานา พลาซา ตลาดในเมืองซาวาร์ นอกกรุงธากา เมืองหลวงของบังคลาเทศ ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าส่งให้แก่ยี่ห้อดังๆ เช่น มังโก้ และเบนเนตอง พังถล่มลงมา วานนี้ ( 24 เม.ย.) มีแค่ชั้นหนึ่งของอาคารเท่านั้นที่โครงสร้างต่างๆ ยังคงยืนหยัดอยู่ได้

นายอาเหม็ด อาลี หัวหน้าแผนกดับเพลิงแห่งชาติของบังกลาเทศ กล่าวว่า อาคาร 8 ชั้นพังทลายกลายเป็นซากปรักหักพังในชั่วเวลาเพียงไม่กี่นาที ทำให้คนงานนับพันคนที่อยู่ในอาคารไม่มีโอกาสแม้แต่จะวิ่งหนี การขุดค้นซากปรักหักพังเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ติดอยู่ภายใต้ซากยังคงดำเนินต่อไปตลอดคืนที่ผ่านมา ท่ามกลางความยากลำบาก

สำหรับจำนวนผู้เสียชีวิตเบื้องต้นอยู่ที่ 127 คน และผู้บาดเจ็บกว่า 1,000 คน กลุ่มพิทักษ์สิทธิแรงงานระบุว่า เหตุอาคารถล่มครั้งนี้นับว่ารุนแรงที่สุดเท่าที่เคยมีมา วันนี้นายกรัฐมนตรีชี้ค ฮาสินา จะประกาศไว้อาลัยให้แก่ผู้เสียชีวิต โดยลดธงลงครึ่งเสาทั่วประเทศ

โมฮัมหมัด อาซาดุสซามาน ผู้บัญชาการสถานีตำรวจในพื้นที่เกิดเหตุ เผย ว่า เจ้าของโรงงานเพิกเฉยต่อคำเตือนให้ห้ามพนักงานเข้าไปในอาคาร หลังจากมีการตรวจพบรอยร้าวในวันอังคาร (23 เม.ย.) สอดคล้องกับที่พนักงานบางคนเล่าว่า อาคารดังกล่าวเริ่มร้าวตั้งแต่คืนวันอังคาร ทำให้คนงานพากันอพยพออกจากตึก แต่ก็ถูกผู้จัดการสั่งให้กลับเข้าทำงานต่อ หลังจากนั้นเพียงชั่วโมงเดียว อาคารก็ถล่มลงมา

นายมุสตาฟา ราห์มาน หัวหน้าตำรวจ เผยว่า เจ้าของโรงงานซึ่งหลบหนีไปทันทีที่เกิดเหตุได้ฝ่าฝืนคำสั่งของทางการที่ห้ามเปิดโรงงาน หลังจากได้รับแจ้งเรื่องรอยร้าวจนเป็นที่มาของโศกนาฏกรรมครั้งนี้

ก่อนหน้านี้ ในเดือนพฤศจิกายน ปีที่แล้ว เกิดเหตุไฟไหม้โรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าชานกรุงธากา มีคนงานถูกย่างสด 111 คน นับเป็นอุบัติเหตุที่เลวร้ายที่สุดในอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศ

 

 

                       “มูฮัมหมัด ยูนุส ธนาคารคนจน”

 

                                  

 

  

เราออกแบบธุรกิจให้เป็น องค์กรธุรกิจสีขาวได้หรือไม่ เรื่องราวของธุรกิจต่อไปนี้จะเป็นคำตอบเรื่องนี้ได้เป็นอย่างดี มูฮัมหมัด ยูนุสนักเศรษฐศาสตร์ชาวบังคลาเทศ ต้นกําเนิด ธนาคารคนจน ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างล้นเหลือ ทำให้ชาวบังคลาเทศซึ่งได้ชื่อว่ายากจนข้นแค้นที่สุดประเทศหนึ่งได้ลืมตาอ้าปาก แม้จะไม่ถึงกับทำให้ทุกคนรํ่ารวย แต่อย่างน้อยก็เพียงพอต่อการทำให้ผู้คนเป็นเรือนล้านช่วยเหลือตัวเองได้ 2006 (2549) อย่างไร้ข้อกังขา

 

1972 (2515) ภายหลังยูนุสหวนคืนสู่บ้านเกิด หลังรับทุนฟุลไบร์ทไปรํ่าเรียนระดับปริญญาเอกที่สหรัฐอเมริกา และสอนหนังสือที่นั่นต่ออีก 3 ปี เมื่อกลับคืนสู่บ้านเกิดยูนุสได้เข้าเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยจิตตะกอง ธนาคารคนจนหรือ Grameen Bank มาก่อน กระทั่งวันหนึ่งยูนุสต้องเดินทางไปหมู่บ้านเล็กๆ แห่งหนึ่งชื่อโจบรา 1974 (2517) บังคลาเทศแร้นแค้นอย่างหนัก ยูนุสควักกระเป๋าตัวเองเพื่อมอบเงินให้ผู้หญิงจำนวน 42 คน ในหมู่บ้านโจบรา ใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยจิตตะกอง หลังพบว่าคนยากจนกลุ่มนี้มีหนี้นอกระบบรวมกันแล้ว 27 เหรียญสหรัฐ เฉลี่ยคนละไม่ถึงเหรียญ แต่ไม่มีปัญญาจ่ายหนี้และปล่อยให้ดอกเบี้ย 27 เหรียญได้จุดประกายความคิดบางอย่างให้เกิดขึ้นกับยูนุส และมีผลต่อความอยู่รอดของคนยากจน มีเมื่อไหร่ค่อยนำมาจ่ายคืนWhite Ocean Society www.dmgbooks.com/white 2 White Ocean Strategy (Free Edition Digital Download)

 

1983 (2526) มูฮัมหมัด ยูนุส ได้ก่อตั้ง กรามีน แบงก์ ขึ้น ความยากจนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Capitalism) ผู้ที่ต้องการกู้ยืมเงินทุนเพื่อนำไปประกอบอาชีพมากที่สุดกลับได้รับการปฏิเสธ หรือต้องเสียดอกเบี้ยสูงกว่า ตรงกันข้ามกับคนมีฐานะมั่นคงกลับได้กู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยตํ่ากว่า และได้รับวงเงินกู้อย่างรวดเร็ว การเคารพศักยภาพของคน จากสมมติฐานความเชื่อว่าคนทุกคนมีความสามารถถีบตัวเองให้หลุดพ้นจากความยากจนได้ถ้าได้รับโอกาส ยูนุสค้นพบแนวความคิดง่ายๆ แต่ยิ่งใหญ่ราวกับการ "ปฏิวัติ" ว่า คนยากจนก็เป็นผู้กู้ที่มีความเชื่อถือได้พอๆ กับคนรํ่ารวย เพียงแต่ต้องรื้อระบบหลักประกันความเสี่ยงแบบเดิมๆ ทิ้งไป และนำ อานุภาพแห่งความไว้วางใจเข้ามาแทนที่ Microcredit หรือ สินเชื่อคนยากภายใต้ระบบ Solidarity Group ผู้กู้ต้องรวมกลุ่มกัน 5 คน ทุกคนจะเป็นหลักประกันซึ่งกันและกัน ทุกคนรู้ว่าแต่ละคนกู้ยืมไปเท่าไร 5 คน บริหารจัดการกันเอง ดูแลกันเอง และตรวจสอบกันเองว่าในแต่ละคนมีคนไหนบ้างที่บริหารการเงินล้มเหลว

 

การปล่อยกู้ครั้งแรกธนาคารจะปล่อยกู้ให้กับ 2 คนแรกก่อน ถ้าสามารถบริหารจัดการเงินกู้ได้จึงจะปล่อยกู้ให้อีก 2 คนถัดมา ส่วนหัวหน้ากลุ่มธนาคารจะปล่อยกู้ให้เป็นคนสุดท้าย White Ocean Society www.dmgbooks.com/white 3 White Ocean Strategy (Free Edition Digital Download) 2549 ไปแล้วทั้งสิ้น 5,720 ล้านดอลลาร์ หรือเกือบสองแสนล้านบาท! (96 เปอร์เซ็นต์) จะเป็นผู้หญิง และอัตราการชำระเงินกู้ตามสัญญาเกือบจะเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ (ตัวเลขปี 2549 อยู่ที่ 98.85 เปอร์เซ็นต์) เนื่องจากผู้หญิงบังคลาเทศได้ชื่อว่ามีความรับผิดชอบสูง และทุ่มเททำงานหนักเพื่อครอบครัว สินเชื่อคนยากที่ปล่อยออกไปเฉลี่ยระหว่าง 50-200 เหรียญ 2549 กรามีน แบงก์ ระบุถึงสถานภาพตัวเองว่า ผู้ถือหุ้นส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 94 เคยกู้เงินจากธนาคารแห่งนี้มาก่อน ที่เหลือเป็นการถือหุ้นโดยรัฐบาล

 

แนวทางการทำงานของธนาคารยึดหลัก เมื่อคนยากจนเป็นเจ้าของธนาคารแห่งนี้ เพราะฉะนั้นธนาคารสมควรต้องเป็นฝ่ายเดินไปหาคนยากจนเสียเอง 2-3 ล้านคนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่ไม่สำคัญเท่ากับว่า ธนาคารคนจนได้เป็นต้นแบบการช่วยเหลือคนยากจนในอีก 23 ประเทศ ทั้งยังเป็นกําลังใจให้ผู้คนจำนวนมากในโลกที่กําลังต่อสู้กับความยากจน เศรษฐศาสตร์ชนบท17 บริษัท

เชื่อว่าหลายๆ ท่านเคยได้ยินชื่อ

ผลจากความพยายามเปิดโอกาสให้ชาวบังคลาเทศพลิกฟื้นจากความยากจน ทำให้มูฮัมหมัด ยูนุส ได้รับรางวัลสันติภาพประจำปี

เรื่องเริ่มขึ้นในปี

บีบีซีนิวส์ ซึ่งเกาะติดชีวิตของยูนุสในวันที่ได้รับรางวัลโนเบล รายงานว่า มูฮัมหมัด ยูนุส ไม่เคยคิดถึงการก่อตั้ง

ช่วงปี

ด้วยเงินจำนวน

คำพูดหนึ่งของยูนุสต่อหญิงที่เขามอบเงินให้ไปคือ

 

ข้อสังเกตหนึ่งที่ค้นพบ คนยากจนเหล่านี้ไม่เพียงจ่ายคืนเงินกู้อย่างครบถ้วน แต่ตรงเวลาอีกต่างหาก ทั้งๆ ที่การปล่อยกู้ไม่ได้เรียกร้องอะไรเป็นหลักทรัพย์คํ้าประกัน

ด้วยความอยากพิสูจน์ความคิดดังกล่าวว่าเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ ยูนุสตระเวนไปทั่วประเทศ จากหมู่บ้านหนึ่งสู่อีกหมู่บ้านหนึ่ง เพื่อเสนอเงินกู้ให้กับคนยากจน

 

กระทั่งตกผลึกว่าแม้จะเป็นเงินเล็กๆ น้อยๆ แต่มีผลต่อชีวิตคนยากจนมหาศาล ทำให้ในปี

สิ่งที่ยูนุสค้นพบคือ หากใช้วิธีการของทุนนิยมอย่างเหมาะสมจะสามารถลด

ยูนุสบอกว่า ในระบบทุนนิยม

หลักการสำคัญของ กรามีน แบงก์ คือ

ยูนุส เชื่อว่า ความยากจนไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการบริจาค แต่แก้ไขได้หากได้รับการสนับสนุนอย่างถูกต้อง

การปล่อยกู้ของธนาคารคนจนในยุคแรกตามแบบฉบับของยูนุสจะยึดรูปแบบขอ

ผู้กู้ยืมเงิน ซึ่งเป็นผู้หญิงเสียส่วนใหญ่จะจับกลุ่มกัน

สิ่งเดียวที่สร้างความมั่นใจให้กับ กรามีน แบงก์ คือ ความอับอายที่จะเกิดขึ้นระหว่างคนภายในกลุ่ม หากคนใดคนหนึ่งไม่ยอมชำระหนี้

 

ไม่มีอะไรมาคํ้าประกัน ไม่จำเป็นต้องมีผู้คํ้าประกัน ไม่ต้องทำหนังสือสัญญาเงินกู้ แต่สิ่งนี้กลับบรรลุผล

 

หลักเกณฑ์ในการปล่อยกู้ของ กรามีน แบงก์ คือ ไม่ว่าจะผ่อนชำระเงินกู้นานเท่าไรดอกเบี้ยจะไม่สูงไปกว่าเงินต้น หรือถ้าผู้กู้เสียชีวิตหนี้นั้นเป็นอันสูญไป คนในครอบครัวไม่ต้องมารับภาระหนี้ไปด้วย

 

นับตั้งแต่ก่อตั้ง ธนาคารกรามีนได้ปล่อยสินเชื่อจนถึงปี

 

สิ่งที่ยูนุส ค้นพบจากการดำเนินธนาคารคนจนในบังคลาเทศคือ ผู้มาขอสินเชื่อเกือบทั้งหมด

โดยปกติ

ในปี

ถึงแม้ กรามีน แบงก์ จะทำให้คนยากจนในบังคลาเทศ

 

แม้กระทั่งต้นแบบทุนนิยมสุดโต่งอย่างสหรัฐอเมริกา

 

สำนักข่าวหลายแห่งวิเคราะห์ว่า มูฮัมหมัด ยูนุส น่าจะถูกจุดประกายความคิดให้ต่อสู้ความยากจนจากผู้เป็นแม่ของตัวเอง

มูฮัมหมัด ยูนุส เติบโตในครอบครัวมั่งคั่ง ผู้เป็นพ่อมีรายได้มากมายจากธุรกิจเครื่องประดับ และทำให้แม่ของเขามีเงินทองเหลือเฟือ เพียงพอต่อการบริจาคเพื่อการกุศลอยู่เป็นประจำ เป็นแรงบันดาลใจให้กับยูนุสตั้งแต่เล็กจนโต

มีผู้ตั้งข้องสังเกตว่า ระหว่างสอนหนังสืออยู่ในมหาวิทยาลัยจิตตะกอง วิชาที่มูฮัมหมัด ยูนุส เลือกสอนคือวิชาว่าด้วยเรื่อง

 

เส้นทางองค์กรธุรกิจสีขาวของยูนุสไม่ได้หยุดตัวเองอยู่ที่ กรามีน แบงก์ ต่อมาได้แจ้งเกิดธุรกิจเพื่อคนยากจนในบังคลาเทศรวมกันแล้วถึง

ในจำนวนนี้มีโครงการโทรศัพท์มือถือหมู่บ้าน โครงการเงินกู้เพื่อการศึกษา โครงการปล่อยเงินกู้ให้ขอทาน โดยไม่ไปบังคับให้เลิกอาชีพนี้ แต่ขอให้นำสินค้าไปขายระหว่างการขอทานด้วย ในที่สุดหลายๆ คนได้เลิกอาชีพขอทานไปในที่สุด

ทั้งหมดนี้มีเงินทุนเริ่มต้นจาก กรามีน แบงก

 

 

 ***************************************************

 

ความคิดเห็น

วันที่: Sun May 19 01:45:46 ICT 2024

แสดงความคิดเห็น
All Comments: 0 Pages: 1/0

 <iframe width="560" height="315" src="https://www.youtube.com/embed/_jUHKM1YHcc" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>